สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
23,000 บาท/เทอม
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
ภาษาอังกฤษ Master of Science Program in Biotechnology
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีชีวภาพ)
ชื่อย่อภาษาไทย วท.ม. (เทคโนโลยีชีวภาพ)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Master of Science (Biotechnology)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ M.Sc. (Biotechnology)
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังระดับหลักสูตร (Program Learning Outcomes, PLOs)
PLO 1 : ประยุกต์ใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจี (BCG economy model) ได้
Sub PLO 1.1a เข้าใจหลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.2a ประยุกต์ใช้หลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.3a ประเมินเทคนิคทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเพื่อแก้ปัญหาในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.1b เข้าใจหลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.2b ประยุกต์ใช้หลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.3b ประเมินเทคนิคทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมเพื่อแก้ปัญหาในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
PLO 2 : ออกแบบงานวิจัยโดยเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 2.1a วิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 2.2a ออกแบบงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีด้วยความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 2.3a เรียบเรียงองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมที่ค้นพบหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารที่เป็นที่ยอมรับได้
Sub PLO 2.1b วิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมได้
Sub PLO 2.2b ออกแบบงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีด้วยความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมได้
Sub PLO 2.3b เรียบเรียงองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมที่ค้นพบหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารที่เป็นที่ยอมรับได้
PLO3 : สร้างสรรค์นวัตกรรม ทรัพย์สินทางปัญญา หรือแนวคิดเพื่อการพัฒนาธุรกิจในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 3.1a สืบค้นองค์ความรู้ นวัตกรรม หรือทรัพย์สินทางปัญญาด้านทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 3.2a ระบุองค์ความรู้ใหม่ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเพื่อสร้างนวัตกรรม ทรัพย์สินทางปัญญา หรือแนวคิดเชิงธุรกิจที่มีประโยชน์ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 3.3a สร้างแนวคิดเชิงธุรกิจร่วมกับองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 3.1b สืบค้นองค์ความรู้ นวัตกรรม หรือทรัพย์สินทางปัญญาด้านทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมได้
Sub PLO 3.2b ระบุองค์ความรู้ใหม่ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างนวัตกรรม ทรัพย์สินทางปัญญา หรือแนวคิดเชิงธุรกิจที่มีประโยชน์ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 3.3b สร้างแนวคิดเชิงธุรกิจร่วมกับองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมเพื่อใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
PLO 4 : ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อดำเนินการวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อประโยชน์ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 4.1a เลือกเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสืบค้นข้อมูล นำเสนอ เขียนรายงานการวิจัย และตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 4.2a เลือกเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการประมวลผลทางสถิติและการวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 4.3a ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสืบค้นข้อมูล นำเสนอ เขียนรายงานการวิจัย และตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 4.4a ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการประมวลผลทางสถิติและการวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 4.1b เลือกเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสืบค้นข้อมูล นำเสนอ เขียนรายงานการวิจัย และตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมได้
Sub PLO 4.2b เลือกเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการประมวลผลทางสถิติและการวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมได้
Sub PLO 4.3b ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสืบค้นข้อมูล นำเสนอ เขียนรายงานการวิจัย และตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมได้
Sub PLO 4.4b ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการประมวลผลทางสถิติและการวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมได้
PLO 5 : ประพฤติตนตามจริยธรรมและจรรยาบรรณนักวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพได้
Sub PLO 5.1a อภิปรายหลักการของจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 5.2a ปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมด้วยตนเองได้
Sub PLO 5.1b อภิปรายหลักการของจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมได้
Sub PLO 5.2b ปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองได้
Sub PLO 5.3 ปฏิบัติตามจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีความซื่อสัตย์ รักษาความลับและผลประโยชน์ขององค์กร และมีจิตสาธารณะในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
PLO 6 : สื่อสารเชิงวิชาการทางเทคโนโลยีชีวภาพได้
Sub PLO 6.1 นำเสนอข้อมูลเชิงวิชาการทางเทคโนโลยีชีวภาพด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้
Sub PLO 6.2 แสดงบุคลิกภาพในการนำเสนอข้อมูลเชิงวิชาการได้
Sub PLO 6.3 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการทำข้อมูลเชิงวิชาการให้เป็นภาพได้
PLO 7 : ทำงานร่วมกับผู้อื่นในสถานการณ์ที่แตกต่างและองค์กรพหุวัฒนธรรมได้
Sub PLO 7.1 ทำงานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่นได้
Sub PLO 7.2 รับฟังและเสนอความคิดที่แตกต่างกันอันเป็นประโยชน์ต่อการทำงานในองค์กรพหุวัฒนธรรมได้
Sub PLO 1.1a เข้าใจหลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.2a ประยุกต์ใช้หลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.3a ประเมินเทคนิคทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเพื่อแก้ปัญหาในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.1b เข้าใจหลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.2b ประยุกต์ใช้หลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.3b ประเมินเทคนิคทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมเพื่อแก้ปัญหาในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
PLO 2 : ออกแบบงานวิจัยโดยเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 2.1a วิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 2.2a ออกแบบงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีด้วยความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 2.3a เรียบเรียงองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมที่ค้นพบหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารที่เป็นที่ยอมรับได้
Sub PLO 2.1b วิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมได้
Sub PLO 2.2b ออกแบบงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีด้วยความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมได้
Sub PLO 2.3b เรียบเรียงองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมที่ค้นพบหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารที่เป็นที่ยอมรับได้
PLO3 : สร้างสรรค์นวัตกรรม ทรัพย์สินทางปัญญา หรือแนวคิดเพื่อการพัฒนาธุรกิจในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 3.1a สืบค้นองค์ความรู้ นวัตกรรม หรือทรัพย์สินทางปัญญาด้านทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 3.2a ระบุองค์ความรู้ใหม่ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเพื่อสร้างนวัตกรรม ทรัพย์สินทางปัญญา หรือแนวคิดเชิงธุรกิจที่มีประโยชน์ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 3.3a สร้างแนวคิดเชิงธุรกิจร่วมกับองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 3.1b สืบค้นองค์ความรู้ นวัตกรรม หรือทรัพย์สินทางปัญญาด้านทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมได้
Sub PLO 3.2b ระบุองค์ความรู้ใหม่ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างนวัตกรรม ทรัพย์สินทางปัญญา หรือแนวคิดเชิงธุรกิจที่มีประโยชน์ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 3.3b สร้างแนวคิดเชิงธุรกิจร่วมกับองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมเพื่อใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
PLO 4 : ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อดำเนินการวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อประโยชน์ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 4.1a เลือกเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสืบค้นข้อมูล นำเสนอ เขียนรายงานการวิจัย และตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 4.2a เลือกเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการประมวลผลทางสถิติและการวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 4.3a ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสืบค้นข้อมูล นำเสนอ เขียนรายงานการวิจัย และตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 4.4a ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการประมวลผลทางสถิติและการวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 4.1b เลือกเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสืบค้นข้อมูล นำเสนอ เขียนรายงานการวิจัย และตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมได้
Sub PLO 4.2b เลือกเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการประมวลผลทางสถิติและการวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมได้
Sub PLO 4.3b ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสืบค้นข้อมูล นำเสนอ เขียนรายงานการวิจัย และตีพิมพ์ผลงานวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมได้
Sub PLO 4.4b ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการประมวลผลทางสถิติและการวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมได้
PLO 5 : ประพฤติตนตามจริยธรรมและจรรยาบรรณนักวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพได้
Sub PLO 5.1a อภิปรายหลักการของจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 5.2a ปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมด้วยตนเองได้
Sub PLO 5.1b อภิปรายหลักการของจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมได้
Sub PLO 5.2b ปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพทางเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองได้
Sub PLO 5.3 ปฏิบัติตามจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีความซื่อสัตย์ รักษาความลับและผลประโยชน์ขององค์กร และมีจิตสาธารณะในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
PLO 6 : สื่อสารเชิงวิชาการทางเทคโนโลยีชีวภาพได้
Sub PLO 6.1 นำเสนอข้อมูลเชิงวิชาการทางเทคโนโลยีชีวภาพด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้
Sub PLO 6.2 แสดงบุคลิกภาพในการนำเสนอข้อมูลเชิงวิชาการได้
Sub PLO 6.3 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการทำข้อมูลเชิงวิชาการให้เป็นภาพได้
PLO 7 : ทำงานร่วมกับผู้อื่นในสถานการณ์ที่แตกต่างและองค์กรพหุวัฒนธรรมได้
Sub PLO 7.1 ทำงานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่นได้
Sub PLO 7.2 รับฟังและเสนอความคิดที่แตกต่างกันอันเป็นประโยชน์ต่อการทำงานในองค์กรพหุวัฒนธรรมได้
จบแล้วทำอาชีพอะไรได้บ้าง
1. นักวิจัยและนักวิชาการ ด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรม และเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อม ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
2 ที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรม และเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อม
3 ผู้ประกอบการอิสระ
4 นักวิเคราะห์นโยบายและแผนในหน่วยงานต่าง ๆ
5 ครูในสถาบันการศึกษา
2 ที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรม และเทคโนโลยีชีวภาพทางเกษตรและสิ่งแวดล้อม
3 ผู้ประกอบการอิสระ
4 นักวิเคราะห์นโยบายและแผนในหน่วยงานต่าง ๆ
5 ครูในสถาบันการศึกษา