หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
30,000 บาท/ปี
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
ภาษาอังกฤษ Doctor of Philosophy Program in Biotechnology
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีชีวภาพ)
ชื่อย่อภาษาไทย ปร.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Doctor of Philosophy (Biotechnology)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ Ph.D. (Biotechnology)
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังระดับหลักสูตร (Program Learning Outcomes, PLOs)
PLO 1 : สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อพัฒนางานวิจัยตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจี (BCG economy model) ได้
Sub PLO 1.1a อธิบายหลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.2a ประยุกต์ใช้หลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีทางอุตสาหกรรมและระบบมาตรฐานเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.3a สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมที่สามารถขยายขนาดเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.1b อธิบายหลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.2b ประยุกต์ใช้หลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร สิ่งแวดล้อมและระบบมาตรฐานเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.3b สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อมที่สามารถขยายขนาดเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
PLO 2 : ออกแบบงานวิจัย โดยเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อแก้ไขปัญหาต่อยอดและสร้างองค์ความรู้ใหม่ตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจี
Sub PLO 2.1a วิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 2.2a ออกแบบงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรมทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 2.2a วิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 2.2a ออกแบบงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรมทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 2.1a วิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 2.2a ออกแบบงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรมทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
PLO3 : สามารถนำความรู้ความเข้าใจทางทฤษฎีในเนื้อหาสาระหลักของเทคโนโลยีวัสดุและนวัตกรรม มาสร้างผลงานวิจัยที่มีการค้นพบองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรมที่จะก่อประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย ชุมชนหรือประเทศได้ อย่างมีจริยธรรมและถูกต้องตามหลักวิชาการ
Sub PLO 3.1 สามารถออกแบบและวางแผนงานวิจัยได้อย่างมีระบบและถูกต้องตามหลักวิชาการ
Sub PLO 3.2 สามารถคิด วิเคราะห์ พัฒนากรอบแนวคิดอย่างเป็นระบบ และออกแบบ แก้ไข ให้สามารถจัดการปัญหาทางเทคโนโลยีวัสดุและนวัตกรรมด้วยการวิจัยขั้นสูง เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่อย่างเป็นระบบ
Sub PLO 3.3 สามารถประยุกต์ความรู้และสร้างผลงานวิจัยที่มีการค้นพบองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรมที่จะก่อประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย ชุมชน หรือ ประเทศได้อย่างมีจริยธรรมและถูกต้องตามหลักวิชาการ
PLO 4 : สามารถสื่อสารทางวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ของงานวิจัยด้านเทคโนโลยีวัสดุและนวัตกรรมในระดับชาติหรือนานาชาติได้
Sub PLO 4.1 สามารถเขียนบทความวิจัยเต็มรูปแบบหรือรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการเพื่อเผยแพร่ผลงานได้อย่างมีเหตุมีผลและถูกต้องตามหลักวิชาการ
Sub PLO 4.2 สามารถใช้ทักษะการพูดและการถ่ายทอดเนื้อหาในการนำเสนอองค์ความรู้ของงานวิจัยได้อย่างเหมาะสม
PLO 5 : สามารถใช้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการพัฒนางานวิจัยหรือนวัตกรรมอย่างเหมาะสม
Sub PLO 5.1 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น วิเคราะห์ และนำเสนอ
Sub PLO 5.2 สามารถใช้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขในการสร้างองค์ความรู้หรืองานวิจัยทางด้านเทคโนโลยีวัสดุและนวัตกรรมที่มีความสำคัญต่อสังคมและประเทศชาติ
Sub PLO 1.1a อธิบายหลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.2a ประยุกต์ใช้หลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีทางอุตสาหกรรมและระบบมาตรฐานเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.3a สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมที่สามารถขยายขนาดเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.1b อธิบายหลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.2b ประยุกต์ใช้หลักการและทฤษฎีทางเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร สิ่งแวดล้อมและระบบมาตรฐานเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 1.3b สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อมที่สามารถขยายขนาดเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
PLO 2 : ออกแบบงานวิจัย โดยเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อแก้ไขปัญหาต่อยอดและสร้างองค์ความรู้ใหม่ตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจี
Sub PLO 2.1a วิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 2.2a ออกแบบงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรมทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 2.2a วิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 2.2a ออกแบบงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรมทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
Sub PLO 2.1a วิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางในอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมได้
Sub PLO 2.2a ออกแบบงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรมทางเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมตามรูปแบบเศรษฐกิจบีซีจีได้
PLO3 : สามารถนำความรู้ความเข้าใจทางทฤษฎีในเนื้อหาสาระหลักของเทคโนโลยีวัสดุและนวัตกรรม มาสร้างผลงานวิจัยที่มีการค้นพบองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรมที่จะก่อประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย ชุมชนหรือประเทศได้ อย่างมีจริยธรรมและถูกต้องตามหลักวิชาการ
Sub PLO 3.1 สามารถออกแบบและวางแผนงานวิจัยได้อย่างมีระบบและถูกต้องตามหลักวิชาการ
Sub PLO 3.2 สามารถคิด วิเคราะห์ พัฒนากรอบแนวคิดอย่างเป็นระบบ และออกแบบ แก้ไข ให้สามารถจัดการปัญหาทางเทคโนโลยีวัสดุและนวัตกรรมด้วยการวิจัยขั้นสูง เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่อย่างเป็นระบบ
Sub PLO 3.3 สามารถประยุกต์ความรู้และสร้างผลงานวิจัยที่มีการค้นพบองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรมที่จะก่อประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย ชุมชน หรือ ประเทศได้อย่างมีจริยธรรมและถูกต้องตามหลักวิชาการ
PLO 4 : สามารถสื่อสารทางวิชาการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ของงานวิจัยด้านเทคโนโลยีวัสดุและนวัตกรรมในระดับชาติหรือนานาชาติได้
Sub PLO 4.1 สามารถเขียนบทความวิจัยเต็มรูปแบบหรือรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการเพื่อเผยแพร่ผลงานได้อย่างมีเหตุมีผลและถูกต้องตามหลักวิชาการ
Sub PLO 4.2 สามารถใช้ทักษะการพูดและการถ่ายทอดเนื้อหาในการนำเสนอองค์ความรู้ของงานวิจัยได้อย่างเหมาะสม
PLO 5 : สามารถใช้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการพัฒนางานวิจัยหรือนวัตกรรมอย่างเหมาะสม
Sub PLO 5.1 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น วิเคราะห์ และนำเสนอ
Sub PLO 5.2 สามารถใช้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขในการสร้างองค์ความรู้หรืองานวิจัยทางด้านเทคโนโลยีวัสดุและนวัตกรรมที่มีความสำคัญต่อสังคมและประเทศชาติ
จบแล้วทำอาชีพอะไรได้บ้าง
1. อาจารย์ในสถาบันการศึกษา
2. นักวิจัย นักวิชาการ นักวิทยาศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษาในหน่วยงานราชการและเอกชน
3. นักวิเคราะห์นโยบายและโครงการในหน่วยงานต่าง ๆ
4. อาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. นักวิจัย นักวิชาการ นักวิทยาศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษาในหน่วยงานราชการและเอกชน
3. นักวิเคราะห์นโยบายและโครงการในหน่วยงานต่าง ๆ
4. อาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง