สาขาวิชาการวิเคราะห์และจัดการข้อมูลขนาดใหญ่
จุดเด่นของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการวิเคราะห์และจัดการข้อมูลขนาดใหญ่
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการวิเคราะห์และจัดการข้อมูลขนาดใหญ่
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Science Program in Big Data Analytics and Management
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ไทย) วิทยาศาสตรบัณฑิต (การวิเคราะห์และจัดการข้อมูลขนาดใหญ่)
ชื่อย่อ (ไทย) วท.บ. (การวิเคราะห์และจัดการข้อมูลขนาดใหญ่)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) Bachelor of Science (Big Data Analytics and Management)
ชื่อย่อ (อังกฤษ) B.Sc. (Big Data Analytics and Management)
PLO2: อธิบายกฎหมายเกี่ยวกับด้านข้อมูลและการป้องกันการเข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาตได้
PLO3: วิเคราะห์ข้อมูลด้วยพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และสถิติได้
PLO4: เขียนโปรแกรมเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลและออกแบบระบบจัดการฐานข้อมูลพื้นฐานสำหรับข้อมูลขนาดใหญ่ได้
PLO5: ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านการเรียนรู้ของเครื่องและปัญญาประดิษฐ์สำหรับข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อสร้างแบบจำลองสำหรับการทำนายและจำแนกข้อมูลได้
PLO6: ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีด้านข้อมูลเพื่อทำการวิเคราะห์และจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ได้
PLO7: นำเสนอข้อมูลโดยใช้สารสนเทศและภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้
PLO8: ประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการวิเคราะห์และจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อการพัฒนานวัตกรรมที่ตอบสนองความต้องการขององค์กรและสังคมได้
PLO9: วางแผนการทำงานร่วมกับผู้อื่นเพื่อผลลัพธ์ที่ต้องการได้
PLO10: ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคมได้
2. วิศวกรข้อมูล (Data Engineer)
3. นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analyst)
4. นักพัฒนาคลังข้อมูล (Data Warehouse Developer)
5. นักพัฒนาแบบจำลองข้อมูล (Data Modeler)
2) กรณีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามที่กำหนดข้างต้น ให้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของกรรมการบริหารหลักสูตร หรือ กรรมการบริหารคณะ
โครงสร้างหลักสูตร รายวิชาและหน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 130 หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตร
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต
1.1 กลุ่มวิชาความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
1.2 กลุ่มวิชาเทคโนโลยีและการเสริมสร้างนวัตกรรม ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
1.3 กลุ่มวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต
1.4 กลุ่มวิชาส่งเสริมความเป็นผู้ประกอบการ ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต
2. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 100 หน่วยกิต
2.1 กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 18 หน่วยกิต
2.2 กลุ่มวิชาชีพบังคับ 58 หน่วยกิต
2.3 กลุ่มวิชาเลือก
2.3.1 แผนการเรียนสหกิจศึกษา / ฝึกงาน 15 หน่วยกิต
2.3.2 แผนการเรียนร่วมสถานประกอบการ 9 หน่วยกิต
2.4 กลุ่มวิชาเสริมสร้างประสบการณ์ในวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 9 หรือ 15 หน่วยกิต ขึ้นอยู่กับแผนการเรียน
2.4.1 แผนการเรียนสหกิจศึกษา / ฝึกงาน 9 หน่วยกิต
2.4.2 แผนการเรียนร่วมสถานประกอบการ 15 หน่วยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
