
สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศเพื่อนวัตกรรมดิจิทัล (ต่อเนื่อง) หลักสูตรนานาชาติ
รหัสหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศเพื่อนวัตกรรมดิจิทัล (ต่อเนื่อง) หลักสูตรนานาชาติ
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Information Science for Digital Innovation (Continue) International Program
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ไทย) : วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาการสารสนเทศเพื่อนวัตกรรมดิจิทัล)
ชื่อย่อ (ไทย) : วท.บ. (วิทยาการสารสนเทศเพื่อนวัตกรรมดิจิทัล)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Bachelor of Science (Information Science for Digital Innovation)
ชื่อย่อ (อังกฤษ) : B.Sc. (Information Science for Digital Innovation)
PLO2: อธิบายหลักการและทฤษฎีพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสถิติได้
PLO3: คำนวณและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสถิติได้
PLO4: อธิบายหลักการและทฤษฎีพื้นฐานของกระบวนการทางธุรกิจ รวมถึงกระบวนการพัฒนา/สร้างนวัตกรรมดิจิทัล
PLO5: เลือกใช้เครื่องมือทางด้านนวัตกรรมดิจิทัลในการประมวลผล และแปรผลข้อมูล
PLO6: ใช้สารสนเทศเพื่อการสืบค้นข้อมูลทางด้านนวัตกรรมธุรกิจดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
PLO7: ประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงาน/แก้ปัญหาทางธุรกิจดิจิทัล
PLO8: วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการแก้ปัญหาทางธุรกิจดิจิทัลได้อย่างเหมาะสม
PLO9: พัฒนา/สร้างนวัตกรรมดิจิทัลที่สอดคล้องกับกระบวนการทำงานของธุรกิจ/อุตสาหกรรมได้
PLO10: สามารถฟัง พูด อ่าน เขียน รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอด้วยภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
PLO11: สามารถสร้างแผนธุรกิจตามแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการควบคู่คุณธรรมและจริยธรรมในยุคดิจิทัลได้
2 นักวิเคราะห์ข้อมูล
3 นักจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
4 นักบริหารโครงการสารสนเทศ
5 ผู้ประกอบการด้านนวัตกรรมดิจิทัล
6 อาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. ผู้สมัครเข้าศึกษาต่อต้องมีผลสอบภาษาอังกฤษอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
TOEIC (Paper-based/ITP) ไม่ต่ำกว่า 350 คะแนน
TOEFL (iBT) ไม่ต่ำกว่า 26 คะแนน
TOEFL (CBT) ไม่ต่ำกว่า 87 คะแนน
IELTS ไม่ต่ำกว่า 3.0 คะแนน
CU-TEP ไม่ต่ำกว่า 25 คะแนน
TU-GET (Computer-based) ไม่ต่ำกว่า 26 คะแนน
TU-GET (Paper-based) ไม่ต่ำกว่า 364 คะแนน
RT-TEP ไม่ต่ำกว่า 3.0 คะแนน
CET ไม่ต่ำกว่า 350 คะแนน
Duolingo English Test ไม่ต่ำกว่า 100 คะแนน
หรือเข้ารับการปรับพื้นภาษาอังกฤษก่อนเรียน และผ่านเกณฑ์คะแนนการสอบตาม ที่คณะกรรมการหลักสูตรกำหนด กรณีที่ไม่มีผลสอบภาษาอังกฤษ
3. คุณสมบัติอื่น เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2550 และฉบับเพิ่มเติม พ.ศ. 2556 หรือประกาศของมหาวิทยาลัยกำหนด ในกรณีที่ผู้เข้าศึกษา มีคุณสมบัติไม่ตรงตามเกณฑ์ที่กำหนดข้างต้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร หรือกรรมการบริหารคณะ/วิทยาลัย
โครงสร้างหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 74 หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตร
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
1.1) กลุ่มวิชาความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต
1.2) กลุ่มวิชาเทคโนโลยีและการเสริมสร้างนวัตกรรม ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
(ยกเว้น)
1.3) กลุ่มวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต
1.4) กลุ่มวิชาส่งเสริมความเป็นผู้ประกอบการ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
(ยกเว้น)
และให้เลือกศึกษาอีก จำนวน 3 หน่วยกิต จากกลุ่มวิชาใดก็ได้ในหมวดศึกษาทั่วไป
2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต
2.1) กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 12 หน่วยกิต
2.2) กลุ่มวิชาชีพบังคับ 25 หน่วยกิต
2.3) กลุ่มวิชาชีพเลือก 12 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาด้านการพัฒนานวัตกรรมซอฟต์แวร์ 6 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาด้านผู้ประกอบการนวัตกรรมดิจิทัล 6 หน่วยกิต
2.4) กลุ่มวิชาเสริมสร้างประสบการณ์ในวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 7 หน่วยกิต
3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
หมายเหตุ : นับในหมวดวิชาเฉพาะ ยกเว้นกลุ่มวิชาชีพเลือก
- วิชาทางทฤษฎี 21 หน่วยกิต
- วิชาทางปฏิบัติ 23 หน่วยกิต
จำนวนรวมทั้งสิ้น 44 หน่วยกิต
ได้รับการยกเว้นรายวิชาที่ได้ศึกษามาแล้ว 12 หน่วยกิต
B.Sc_.-Information-Science-for-Digital-Innovation.pdf